Personet – Splice ทดสอบ เข้าหัวสาย Fiber Optic

PERSONET – SPLICE ทดสอบ เข้าหัวสาย FIBER OPTIC

บริการ SPLICE ทดสอบ เข้าหัวสาย FIBER OPTIC

     บริการรับ สไปสายไฟเบอร์ ( เชื่อมต่อสายไฟเบอร์ ) Splice สาย Fiber optic ใยแก้วนำแสง รับเข้าหัวสาย Fiber ด้วยเครื่อง DTX1800 โดยทีมงานมืออาชีพ รวมถึง รับทดสอบ สายไฟเบอร์ออฟติก OTDR Report Fiber ออก Report สาย Fiber

สนใจติดต่อบริการ
Tel : 081-839-0789 หรือ 02 0676 839
E-mail : [email protected]

วิธีการอ่านค่าผลทดสอบสายใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic Cable)

ค่าต่างๆที่อ่านได้ในผลทดสอบ
1. ค่า A-B Distance คือ ค่าความยาวของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เมตร (m)
2. ค่า A-B Loss คือ ค่าการลดทอนสัญญาณของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เดซิเบล (dB)
หมายเหตุ

1
ตารางแสดงค่า Optical fiber cable transmission performance parameters (ANSI/TIA-568-C.3)

• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสง ชนิด Single mode จะมีค่าประมาณ 0.0005dB/m (1310nm) และ 0.0005dB/m (1550nm) ส่วนสายใยแก้วนำแสง ชนิด Multimode จะมีค่าประมาณ 0.0035dB/m (850nm) และ 0.0015dB/m (1300nm)
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Connector Loss ของในแต่ละหัวต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.75 dB
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Splice Loss ของในแต่ละจุดเชื่อมต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.3 dB

 

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ Channel Loss = (Cable Loss x Length) + (Connector Loss x Point) + (Splice Loss x Point)

วิธีการคำนวณค่า Channel Loss

1. นำค่า Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด (dB/m) x ค่า A-B Distance ของสายใยแก้วนำแสง (m)
2. นำค่า Connector Loss (dB) x จำนวนจุด
3. นำค่า Splice Loss (dB) x จำนวนจุด
4. นำค่าที่ได้ใน ข้อที่ 1 + ข้อที่ 2 + ข้อที่3
ดังนั้นจะได้ค่า Channel Loss ที่ได้จากการคำนวณ เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับค่า A-B Loss ที่วัดได้จากเครื่อง OTDR

ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณค่า Channel Loss ของสายใยแก้วนำแสงชนิด Multimode ที่ความยาวคลื่น 850nm ความยาวสาย 200 m มีจุดต่อ Connector 2 จุด โดยไม่มีจุดต่อแบบ Splice
1. (Cable Loss@850nm x Length(m))  = (0.0035 dB/m x 200 m)        = 0.70 dB
2. (Connector Loss x Point)                     = (0.75 dB x 2 Point)                   = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point)                              = (0.3 dB x 0 Point)                      = 0 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss                           = ( 0.70 dB + 0 dB+ 1.5 dB )     = 2.2 dB

ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณค่า Channel Loss ของสายใยแก้วนำแสงชนิด Single mode ที่ความยาวคลื่น 1310nm ความยาวสาย 1.2 km. มีจุดต่อ Connector 2 จุด และ จุดต่อแบบ Splice 2 จุด
1. (Cable Loss@1310nm x Length(m))   = (0.0005dB/m x 1200 m)       = 0.6 dB
2. (Connector Loss x Point)                        = (0.75 dB x 2 Point)                   = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point)                                 = (0.3 dB x 2 Point)                      = 0.6 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss                              = (0.6 dB + 1.5 dB + 0.6dB)      = 2.7 dB

* ดังนั้น ค่า A-B Loss ที่อ่านได้จาก OTDR จะต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่า Channel Loss ที่คำนวณได้ จึงจะถือว่าผ่านตามมาตรฐาน

การดูรูปกราฟ

1. กราฟปกติ ที่ไม่มีจุดต่อสาย

3

2. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วย หัว Connector

3

3. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วยวิธีการ Splice

4

เราเพอโซเน็ตบริการด้วยทีมวิศวะกรเเละช่างผู้เชี่ยวชาญกว่า 10 ปี มั่นใจในคุณภาพ มั่นใจเรา

Personet ผู้ให้บริการ รับติดตั้งเเละเดินสายไฟเบอร์ออฟติก รับเหมางานเดินสาย Fiber optic  ติดตั้งไฟเบอร์ออฟติก รับเข้าหัว splice fiber optic งานเกี่ยวกับ fiber optic ทุกรูปแบบ บริการที่ดีที่สุด  อันดับหนึ่งในวงการ

บริการ SPLICE ทดสอบ เข้าหัวสาย FIBER OPTIC

     บริการรับ สไปสายไฟเบอร์ ( เชื่อมต่อสายไฟเบอร์ ) Splice สาย Fiber optic ใยแก้วนำแสง รับเข้าหัวสาย Fiber ด้วยเครื่อง DTX1800 โดยทีมงานมืออาชีพ รวมถึง รับทดสอบ สายไฟเบอร์ออฟติก OTDR Report Fiber ออก Report สาย Fiber

สนใจติดต่อบริการ 081-839-0789
E-mail : [email protected]

วิธีการอ่านค่าผลทดสอบสายใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic Cable)

ค่าต่างๆที่อ่านได้ในผลทดสอบ
1. ค่า A-B Distance คือ ค่าความยาวของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เมตร (m)
2. ค่า A-B Loss คือ ค่าการลดทอนสัญญาณของสายใยแก้วนำแสงที่ทำการวัดได้จากการติดตั้ง หน่วยเป็น เดซิเบล (dB)
หมายเหตุ

1
ตารางแสดงค่า Optical fiber cable transmission performance parameters (ANSI/TIA-568-C.3)

• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสง ชนิด Single mode จะมีค่าประมาณ 0.0005dB/m (1310nm) และ 0.0005dB/m (1550nm) ส่วนสายใยแก้วนำแสง ชนิด Multimode จะมีค่าประมาณ 0.0035dB/m (850nm) และ 0.0015dB/m (1300nm)
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Connector Loss ของในแต่ละหัวต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.75 dB
• ตามมาตรฐาน ANSI/TIA-568-C.3 Splice Loss ของในแต่ละจุดเชื่อมต่อจะมีค่าไม่เกิน 0.3 dB

 

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ Channel Loss = (Cable Loss x Length) + (Connector Loss x Point) + (Splice Loss x Point)

วิธีการคำนวณค่า Channel Loss

1. นำค่า Cable Loss ของสายใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด (dB/m) x ค่า A-B Distance ของสายใยแก้วนำแสง (m)
2. นำค่า Connector Loss (dB) x จำนวนจุด
3. นำค่า Splice Loss (dB) x จำนวนจุด
4. นำค่าที่ได้ใน ข้อที่ 1 + ข้อที่ 2 + ข้อที่3
ดังนั้นจะได้ค่า Channel Loss ที่ได้จากการคำนวณ เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับค่า A-B Loss ที่วัดได้จากเครื่อง OTDR

ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณค่า Channel Loss ของสายใยแก้วนำแสงชนิด Multimode ที่ความยาวคลื่น 850nm ความยาวสาย 200 m มีจุดต่อ Connector 2 จุด โดยไม่มีจุดต่อแบบ Splice
1. (Cable Loss@850nm x Length(m))  = (0.0035 dB/m x 200 m)        = 0.70 dB
2. (Connector Loss x Point)                     = (0.75 dB x 2 Point)                   = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point)                              = (0.3 dB x 0 Point)                      = 0 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss                           = ( 0.70 dB + 0 dB+ 1.5 dB )     = 2.2 dB

ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณค่า Channel Loss ของสายใยแก้วนำแสงชนิด Single mode ที่ความยาวคลื่น 1310nm ความยาวสาย 1.2 km. มีจุดต่อ Connector 2 จุด และ จุดต่อแบบ Splice 2 จุด
1. (Cable Loss@1310nm x Length(m))   = (0.0005dB/m x 1200 m)       = 0.6 dB
2. (Connector Loss x Point)                        = (0.75 dB x 2 Point)                   = 1.5 dB
3. (Splice Loss x Point)                                 = (0.3 dB x 2 Point)                      = 0.6 dB
เพราะฉะนั้น Channel Loss                              = (0.6 dB + 1.5 dB + 0.6dB)      = 2.7 dB

* ดังนั้น ค่า A-B Loss ที่อ่านได้จาก OTDR จะต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่า Channel Loss ที่คำนวณได้ จึงจะถือว่าผ่านตามมาตรฐาน

การดูรูปกราฟ

1. กราฟปกติ ที่ไม่มีจุดต่อสาย

3

2. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วย หัว Connector

3

3. กราฟปกติ ที่มีจุดต่อด้วยวิธีการ Splice

4

เราเพอโซเน็ตบริการด้วยทีมวิศวะกรเเละช่างผู้เชี่ยวชาญกว่า 10 ปี มั่นใจในคุณภาพ มั่นใจเรา

Personet ผู้ให้บริการ รับติดตั้งเเละเดินสายไฟเบอร์ออฟติก รับเหมางานเดินสาย Fiber optic  ติดตั้งไฟเบอร์ออฟติก รับเข้าหัว splice fiber optic งานเกี่ยวกับ fiber optic ทุกรูปแบบ บริการที่ดีที่สุด  อันดับหนึ่งในวงการ